เนติบัณฑิต เก็งเนติ เตรียมสอบ เนติบัณฑิต ภาค1-2 สมัยที่ 74: สรุปขอบเขตแพ่ง เตรียมสอบเนติบัณฑิต สมัยที่ 71

วันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

สรุปขอบเขตแพ่ง เตรียมสอบเนติบัณฑิต สมัยที่ 71



สรุปขอบเขตแพ่ง เตรียมสอบเนติบัณฑิต


ภาพรวมขอบเขตมาตราสำคัญๆ เนื้อหาหลัก ในการสอบเนติบัณฑิต กลุ่มกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ภาค1 สมัยที่ 71
----------------------- 


⚖️ ข้อที่ 1 วิชาทรัพย์ ที่ดิน (ม.137-148,1298-1434)
1. ส่วนควบ  มาตรา 144 + มาตรา 145 + มาตรา 146
2. การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์  มาตรา 1299 + มาตรา 1300
3. สาธารณสมบัติของแผ่นดิน มาตรา 1304 + มาตรา 1305 + มาตรา 1306 + มาตรา 1307
4. ที่งอกริมตลิ่ง  มาตรา 1308
5. ปลูกโรงเรือนในที่ดิน หรือรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่น  มาตรา 1310 + มาตรา 1311 + มาตรา 1312
6. ทางจำเป็น  มาตรา 1349 + มาตรา 1350 + มาตรา 1351
7. ภาระจำยอม  มาตรา 1387 + มาตรา 1388 + มาตรา 1390 + มาตรา 1391 + มาตรา 1396 + มาตรา 1399 + มาตรา 1400 + มาตรา 1401
8. กรรมสิทธิ์รวม  มาตรา 1357 + มาตรา 1358 + มาตรา 1359 + มาตรา 1361 + มาตรา 1363
9. สิทธิครอบครอง มาตรา ที่สำคัญ
   การได้มาซึ่งสิทธิครอบครอง มาตรา 1367 + มาตรา 1368 + มาตรา 1369 + มาตรา 1373
   การถูกรบกวน การแย่ง และการเปลี่ยนการยึดถือ มาตรา 1374 + มาตรา 1375 + มาตรา 1381
   การสิ้นสุดของสิทธิครอบครอง มาตรา 1377 + มาตรา 1378 + มาตรา 1379
10. ครอบครองปรปักษ์  มาตรา 1382



⚖️ ข้อที่ 2 หนี้ นิติกรรม สัญญา
นิติกรรม
1. หลักทั่วไป  คือ มาตรา 149
2. นิติกรรมที่เป็นโมฆะกรรม มาตรา 150 + มาตรา 152 + มาตรา 154 + มาตรา 155 + มาตรา 156
3. นิติกรรมที่เป็นโมฆียะกรรม  มาตรา 153 + มาตรา 157 + ( มาตรา 159 + มาตรา 160 + มาตรา 161 + มาตรา 163 ) + ( มาตรา 164 + มาตรา 165 )
4. ความสำคัญผิดโดยประมาท  มาตรา 158
5. ชุดโมฆะกรรม และ โมฆียะกรรม มาตรา 172 + มาตรา 174 + มาตรา 175 + มาตรา 176 + มาตรา 177 + มาตรา 181

สัญญา
1. หลักทั่วไป  ( มาตรา 354+ มาตรา 355 + มาตรา 356 ) + ( มาตรา 357 + มาตรา 358 + มาตรา 359 ) + มาตรา 361
2. สัญญาต่างตอบแทน  มาตรา 369 + มาตรา 370 + มาตรา 371 + มาตรา 372ต้องดูคู่กับ มาตรา 217 + มาตรา 218 + มาตรา 219 ด้วยเสมอ
3. มัดจำและเบี้ยปรับ  มาตรา 377 ( มัดจา ) + มาตรา 379 + มาตรา 380 + มาตรา 381 + มาตรา 382 ( เบี้ยปรับ )
4. การเลิกสัญญา  มาตรา 386 + มาตรา 387 + มาตรา 388 + มาตรา 389 + มาตรา 391


หนี้
1. ผิดนัด แยกได้ดังนี้
   1.1 ลูกหนี้ผิดนัด  มาตรา 203 + มาตรา 204 + มาตรา 206…. มาตรา 205 เป็นข้อยกเว้น
   1.2 เจ้าหนี้ผิดนัด  มาตรา 207 + มาตรา 210 มาตรา 211 + มาตรา 212 เป็นข้อยกเว้น
2. สิทธิของเจ้าหนี้ ในกรณีที่ลูกหนี้ผิดนัด
   2.1 สิทธิในการที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง ตาม มาตรา 213
   2.2 สิทธิในการที่จะให้ชาระหนี้ของตนจากทรัพย์สินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง ตาม มาตรา 214
   2.3 สิทธิในการที่จะเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายที่เกิดจากการที่ลูกหนี้ผิด นัดไม่ชาระหนี้ ตาม มาตรา 215
   2.4 สิทธิในการบอกเลิกสัญญา ตาม มาตรา 387 + มาตรา 388
3. ความรับผิดของลูกหนี้  มาตรา 217 + มาตรา 218 + มาตรา 219 สามารถโยง มาตรา 370 + มาตรา 371 + มาตรา 372 ได้ ในเรื่องสัญญา
4. เครื่องมือของเจ้าหนี้ในการที่จะบังคับให้สมดังสิทธิของเจ้าหนี้
   4.1 รับช่วงสิทธิ  มาตรา 226 + มาตรา 227 + มาตรา 228 + มาตรา 230
   4.2 การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้  มาตรา 233 + มาตรา 235 + มาตรา 236
   4.3 เพิกถอนการฉ้อฉล  มาตรา 237 + มาตรา 238
5. เจ้าหนี้ร่วมลูกหนี้ร่วม  มาตรา 290 + มาตรา 291 + มาตรา 292 + มาตรา 294 + มาตรา 296 + มาตรา 300 + มาตรา 301
6. โอนสิทธิเรียกร้อง  มาตรา 303 + มาตรา 304 + มาตรา 306 + มาตรา 308
7.ความระงับแห่งหนี้ (เน้นออกสอบเสมอ**)
   7.1 หักกลบลบหนี้  มาตรา 341 + มาตรา 342 + มาตรา 344 + มาตรา 345 + มาตรา 346
   7.2 แปลงหนี้ใหม่  มาตรา 349 + มาตรา 350 + มาตรา 351
   7.3 หนี้เกลื่อนกลืนกัน  มาตรา 353


⚖️ ข้อที่ 3 ละเมิด
1. การทำละเมิด  มาตรา 420 + มาตรา 421 + มาตรา 422 + มาตรา 423
ข้อสังเกต หลักตามมาตรา 420 ต้องเขียนวางหลักไว้เสมอ***

2. บุคคลที่เป็นคนทำละเมิดและบุคคลที่จะต้องร่วมรับผิด แยกพิจารณาดังนี้
2.1. มาตรา 425 นายจ้างรับผิดร่วมกับลูกจ้าง
2.2 มาตรา 427  ผู้ที่ทำละเมิด ก็คือ ตัวแทน ผู้ร่วมรับผิด ก็คือ ตัวการ แล้วให้นำเอา มาตรา 425 กับ มาตรา 426 มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม
2.3 มาตรา 428   ผู้ที่ทำละเมิด ก็คือ ตัวผู้รับจ้างทำของ ผู้ที่ร่วมรับผิดนั้น คือ ตัวผู้ว่าจ้างทาของ
2.4 มาตรา 429 ผู้ทำละเมิด คือ ตัวผู้เยาว์ หรือ ตัวของ ผู้วิกลจริต ผู้ที่ต้องร่วมรับผิด ก็คือ บิดามารดา หรือ ผู้อนุบาล
2.5 มาตรา 430 ผู้ทำละเมิด คือ ตัวผู้เยาว์ หรือ ผู้วิกลจริต ซึ่งอยู่ในความดูแล ผู้ร่วมรับผิดด้วย ก็คือ ครูบาอาจารย์ หรือ นายจ้าง ผู้รับดูแล
2.6 มาตรา 432 เป็นกรณีที่บุคคลหลายคนร่วมกันทำละเมิด เป็นกรณีที่บุคคลเหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
2.7 มาตรา 433 เป็นกรณีที่สัตว์ทำให้เกิดความเสียหายขึ้นมา (สัตว์ไม่สามารถทำละเมิดได้) ผู้เป็นเจ้าของ หรือ ผู้ที่รับรักษาไว้แทนเจ้าของ ต้องรับผิด
2.8 มาตรา 434  ความเสียหายจะเกิดขึ้นมาจาก โรงเรือน หรือ สิ่งปลูกสร้าง ชารุดบกพร่อง
2.9  มาตรา 436  ความเสียหายเกิดขึ้นจากของตกหล่นจากโรงเรือน ผู้ที่จะต้องรับผิด ก็คือ บุคคลที่อยู่ในโรงเรือน นั้นๆ
2.10  มาตรา 437 ความเสียหาย เกิดจาก  ก.) ยานพาหนะ ที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล  ข.) ทรัพย์อันเป็นของเกิดอันตรายได้โดยสภาพ
3. ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด ออกสอบเสมอ**
    มาตราที่สำคัญๆ คือ มาตรา 438 + มาตรา 442 + (มาตรา 443 +มาตรา 445) + ( มาตรา 444 + มาตรา 445 + มาตรา 446)
    ข้อสังเกต** บางสมัยข้อ 3 ออกเรื่องหนี้ เป็นหลัก** ลองดูข้อสอบย้อนหลัง



⚖️ ข้อที่ 4 ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
ซื้อขาย
1. คำมั่น  มาตรา 454
2. สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด มาตรา 456
3. ชุดสัญญาจะซื้อจะขาย  มาตรา 456 วรรค 2
4. โอนกรรมสิทธิ์  มาตรา 458 – มาตรา 460
5. หน้าที่ของผู้ขาย  มาตรา 461 + มาตรา 465 + ม466
6. ความรับผิดเพื่อชารุดบกพร่องของผู้ขาย  มาตรา 472 + มาตรา 473
7. ความรับผิดในการรอนสิทธิ์ของผู้ขาย  มาตรา 475 + มาตรา 479
8. ขายฝาก  มาตรา 491 + มาตรา 492 + มาตรา 493 + (มาตรา 494 + มาตรา 496 ) + มาตรา 497 + มาตรา 498 + มาตรา 499
เช่าทรัพย์
1 หลักทั่วไป  มาตรา 537 + มาตรา 538
2 เช่าช่วง มาตรา 544 + มาตรา 545 **
3 สัญญาต่างตอบแทนพิเศษยิ่งกว่าสัญญาเช่า เป็นหลักจากคำพิพากษา ***
4 หน้าที่และความรับผิดของผู้ให้เช่า  มาตรา 546 + มาตรา 548 + มาตรา 549 + มาตรา 550 +มาตรา 551
5 หน้าที่และความรับผิดของผู้เช่า มาตรา 552 + มาตรา 554 + มาตรา 556 + มาตรา 557 + มาตรา 558 + มาตรา 560
6 ความระงับของสัญญาเช่า  มาตรา 564 + มาตรา 566 + มาตรา 569 + มาตรา 570

เช่าซื้อ
1 หลักทั่วไป  มาตรา 572
2 สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผู้เช่าซื้อ  มาตรา 573
3 ชุดสิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผู้ให้เช่าซื้อ  มาตรา 574



⚖️ ข้อที่ 5 ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนา
ยืม
1  ยืมใช้คงรูป มาตรา ( มาตรา 640 + มาตรา 641 ) + ( มาตรา 643 + มาตรา 644 + มาตรา 645 ) + มาตรา 646
2  ยืมใช้สิ้นเปลือง  มาตรา 653**
ค้ำประกัน ( มีกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติมใหม่)
1 หลักทั่วไป คือ มาตรา 680 + มาตรา 681 + มาตรา 682 + มาตรา 683 + มาตรา 685
2 ผลก่อนที่ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ มาตรา 686 + มาตรา 687 + มาตรา 688 + มาตรา 689 + มาตรา 690 + มาตรา 691
3 ผลภายหลังจากที่ผู้ค้ำประกันได้ชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้แล้ว… มาตรา 693 + มาตรา 694 + มาตรา 695 + มาตรา 696 + มาตรา 697
4 ความระงับไปของการค้ำประกัน  มาตรา 698 + มาตรา 699 + มาตรา 700 + มาตรา 701
                ข้อสังเกต มาตราที่สำคัญ* ตามพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 20 พ.ศ. 2557)  มาตรา 681 , 681/1 , 685/1 , 686 , 691 , และ มาตรา 700

จำนอง ( มีกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติมใหม่)
1. หลักทั่วไป มาตรา 702 + มาตรา 705 + มาตรา 710 + มาตรา 711 +มาตรา 712 + มาตรา 714
2. สิทธิจำนองครอบเพียงใด มาตรา 716 + มาตรา 717 + (มาตรา 718 +มาตรา 719 + มาตรา 720 + มาตรา 721
3. สิทธิหน้าที่ของผู้รับจำนองและผู้จำนอง  มาตรา 722 + มาตรา 723 + มาตรา 724 + มาตรา 725 + มาตรา 726 + มาตรา 727
4. บังคับจำนอง มาตรา 728 + มาตรา 729 ++ มาตรา 733 + มาตรา 734 + มาตรา 735
5. การระงับสิ้นไปของสัญญาจำนอง  มาตรา มาตรา 744 + มาตรา 745
            ข้อสังเกต มาตราที่สำคัญ* ตามพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 20 พ.ศ. 2557)  มาตรา 714/1 , 727 , 727/1, 728 , 729 , 729/1, 735 , 737, 744 )

จำนำ
1 หลักทั่วไป  มาตรา 747
2 สิทธิหน้าที่ของผู้จำนำและผู้รับจำนำ มาตรา 758 + มาตรา 759 + มาตรา 760
3 บังคับจำนำ ( มาตรา 764 + มาตรา 765 ) + มาตรา  767 + มาตรา 768



⚖️ ข้อที่ 6 ตั๋วเงิน
ตั๋วแลกเงิน
1. หลักทั่วไป มาตรา 899 + มาตรา 900
2. ผู้ทรง มาตรา 904 + มาตรา 905 + มาตรา 927 + มาตรา 928 + มาตรา 929 + มาตรา 941 + มาตรา 943 + มาตรา 944 + มาตรา 948 + มาตรา 959 + มาตรา 967 + มาตรา 973
3. ผู้สลักหลังมาตรา 900 + มาตรา 914 + มาตรา 916 + มาตรา 967 + มาตรา 971 + มาตรา 973
4. ผู้อาวัล มาตรา 900 + มาตรา 916 + มาตรา 921 + มาตรา 938 + มาตรา 939 + มาตรา 940 + มาตรา 967 + มาตรา 973
5. ผู้รับรอง มาตรา 900 + มาตรา 927 + มาตรา 928 + มาตรา 929 + มาตรา 967 + มาตรา 971 + มาตรา 973
6. ผู้จ่ายมาตรา 949 + มาตรา 1009
7. ยกข้อต่อสู้ขึ้นสู้ผู้ทรง มาตรา 916

เช็ค
1. แบบพิมพ์ของเช็ค มาตรา 987 + มาตรา 988
2. ให้นำบทบัญญัติในเรื่องตั๋วแลกเงินมาใช้ในเรื่องเช็คด้วย มาตรา 989 เป็นมาตราที่เป็นเชื่อมไปสู่ตั๋วแลกเงิน
3. การยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงิน  มาตรา 990
4. อำนาจหน้าที่ของธนาคารในการจ่ายเงินตามเช็ค  มาตรา 991 + มาตรา 992
5. การรับรองเช็ค มาตรา 993
6. เช็คขีดคร่อม มาตรา 994 + มาตรา 995 + มาตรา 996 + มาตรา 997 + มาตรา 998 + มาตรา 1000
7. อายุความ มาตรา 1001 + มาตรา 1002 + มาตรา 1003 + มาตรา 1004 + มาตรา 1005
8. ตั๋วปลอม มาตรา 1006 + มาตรา 1007 + มาตรา 1008



⚖️ ข้อที่ 7 หุ้นส่วน บริษัท
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
1. หลักห้างหุ้นส่วนสามัญ  มาตรา 1012 + มาตรา 1025 + มาตรา 1026
2. ความสัมพันธ์กันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน (มาตรา 1026 + มาตรา 1027 + มาตรา 1028 + มาตรา 1029 ) ( มาตรา 1044 + มาตรา 1045 ) ( มาตรา 1033 + มาตรา 1034 + มาตรา 1035)
3. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน กับ บุคคลภายนอก ( มาตรา 1049 + มาตรา 1050 + มาตรา 1051 + มาตรา 1052 + มาตรา 1053 + มาตรา 1054)
4. การเลิก และ การชาระบัญชี ของห้างหุ้นส่วนสามัญ
ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
1. เรื่องการถือเอาประโยชน์แก่บุคคลภายนอก มาตรา 1065
2. เรื่องความรับผิดเมื่อได้ออกไปจากห้างฯแล้ว มาตรา 1068

ห้างหุ้นส่วนจำกัด
1. บ่อเกิดของห้างฯจำกัด  มาตรา 1077 + มาตรา 1079
2. กรณีนำเรื่องห้างสามัญมาใช้  มาตรา 1080
3. หุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิด  มาตรา 1081 + มาตรา 1082 + มาตรา 1088 + มาตรา 1092 + มาตรา 1093 + มาตรา 1094 + มาตรา 1095
4). หุ้นส่วนจำพวกไม่จากัดความรับผิด  มาตรา 1080 + มาตรา 1087

บริษัท***
1. หลักทั่วไป บริษัท มาตรา 1012 + มาตรา 1096 + มาตรา 1097
2. การดำเนินการก่อตั้งบริษัท  มาตรา 1097 + มาตรา 1099 + มาตรา 1100 + มาตรา 1104 + มาตรา 1105 + มาตรา 1107 + มาตรา 1108 + มาตรา 1110 + มาตรา 1111 + มาตรา 1112
3. ความรับผิดของผู้เริ่มก่อการ  มาตรา 1113
4. เพิกถอนการซื้อหุ้นไม่ได้  มาตรา 1114
5. หุ้นและผู้ถือหุ้น  มาตรา 1117 + มาตรา 1118 + มาตรา 1119 + ( มาตรา 1123 + มาตรา 1124 + มาตรา 1126 ) ( มาตรา 1129 + มาตรา 1130 ) ออกสอบเสมอ**
6. กรรมการบริษัท  มาตรา 1144 + มาตรา 1151 + มาตรา 1154 + มาตรา 1167 + มาตรา 1169
7. ประชุมใหญ่  มาตรา 1171 + มาตรา 1172 + มาตรา 1173 + มาตรา 1174 + มาตรา 1175 + มาตรา 1178 +1179 + มาตรา 1182 + มาตรา 1183 + มาตรา 1184 + มาตรา 1185 + มาตรา 1194 + มาตรา 1195



⚖️ ข้อที่ 8 ครอบครัว มรดก
ครอบครัว
1. การหมั้น มาตรา 1435, มาตรา 1436, มาตรา 1437, มาตรา 1439
2. การสมรสที่เป็นโมฆะ มาตรา 1449 + มาตรา 1450 + มาตรา 1452 + มาตรา 1458 + มาตรา 1496 + มาตรา 1497 + มาตรา 1499
3. ความสัมพันธ์ในทางทรัพย์สิน มาตรา 1465 , มาตรา 1466 ,มาตรา 1469 , มาตรา 1471 ,มาตรา 1474 , มาตรา 1476 ,1มาตรา  480
4. บุตรบุญธรรม มาตรา 1598/19 ,มาตรา 1598/20, มาตรา 1598/21, มาตรา 1598/25, มาตรา 1598/27, มาตรา 1598/28, มาตรา  1598/32
5. การสิ้นสุดแห่งการสมรส 1501 ,1514, 1516


มรดก
1. ทรัพย์ที่ตกเข้าสู่กองมรดก  มาตรา 1599 + มาตรา 1600
2. ทายาทโดยธรรมผู้ที่มีสิทธิรับมรดก  มาตรา 1603 + มาตรา 1604 + มาตรา 1607 +มาตรา 1615 + มาตรา 1629 +มาตรา 1630 วรรค 2 + มาตรา 1639
3. ทายาทโดยธรรมที่ไม่มีสิทธิรับมรดก  มาตรา 1604 + ( มาตรา  1605 + มาตรา 1606 ) + มาตรา 1608 + ( มาตรา 1615 +มาตรา 1617
4. พระภิกษุ  มาตรา 1622 + มาตรา 1623 + มาตรา 1624
5. สิทธิในการรับมรดกและการแบ่งมรดก  มาตรา 1620 + มาตรา 1630วรรค 2 + มาตรา 1633 + มาตรา 1635
6. การรับมรดกแทนที่  มาตรา 1631 + มาตรา 1639 + มาตรา 1640 + มาตรา 1641มาตรา 1642 + มาตรา 1643 + มาตรา 1644 + มาตรา 1645
7. การเข้าสืบมรดก  มาตรา 1607 + มาตรา 1615
8. ทายาทโดยพินัยกรรม ( ผู้รับพินัยกรรม  มาตรา 1652+มาตรา 1653+มาตรา 1656+มาตรา 1657+มาตรา 1670+มาตรา 1705


⚖️ ข้อที่ 9 การค้าระหว่างประเทศ
พ.ร.บ. รับขนทางทะเล
มาตรา 3 ผู้ขนส่ง คือ บุคคลซึ่งประกอบการรับขนของทางทะเลเพื่อบำเหน็จเป็นทางค้าปกติ โดยทำสัญญากับผู้ส่งของ
ผู้ขนส่งอื่น คือ บุคคลซึ่งมิได้เป็นคู่สัญญากับผู้ส่งของในสัญญารับขนของทางทะเล แต่ได้รับมอบหมายจากผู้ขนส่งให้ทำ
การขนส่งของตามสัญญานั้นแม้เพียงชั่วระยะทาง และให้รวมถึงบุคคลอื่นซึ่งผู้ขนส่งอื่นได้มอบหมายช่วงต่อไป
ผู้ส่งของ คือ บุคคลซึ่งเป็นคู่สัญญากับผู้ขนส่งในสัญญารับขนของทางทะเล
ภาชนะขนส่ง คือ ตู้สินค้า / ไม้รองสินค้า / สิ่งอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน ซึ่งใช้บรรจุ / รองรับของ / ใช้รวมหน่วยการขนส่ง
ของหลายหน่วยการขนส่งเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์ในการขนส่งทางทะเล
หน่วยการขนส่ง คือ หน่วยแห่งของที่ขนส่งทางทะเลซึ่งนับเป็นหนึ่ง + แต่ละหน่วยอาจทำการขนส่งไปตามลำพังได้ เช่น กระสอบ / ชิ้น / ถัง / ตู้ / ม้วน / ลัง / ลูก / ห่อ / หีบ / อัน / หน่วยที่เรียกชื่ออย่างอื่น
มาตรา 8 ก่อนบรรทุกของลงเรือ / ก่อนที่เรือนั้นจะออกเดินทาง ผู้ขนส่งมีหน้าที่ต้อง (1) ทำให้เรือมีสภาพดี (2) จัดให้มีคนประจำเรือ เครื่องมือ / เครื่องใช้ / เครื่องอุปกรณ์ + สิ่งจำเป็นให้เหมาะสม (3) จัดระวางบรรทุกให้เหมาะสม + ปลอดภัย + รักษาอุณหภูมิ
มาตรา 10 ผู้ขนส่งต้องใช้ความระมัดระวัง + ปฏิบัติการให้เหมาะสมในการบรรทุก / การยกขน / การเคลื่อนย้าย / การเก็บรักษา
มาตรา 11 ผู้ขนส่งมีสิทธิบรรทุกของบนปากระวางเฉพาะในกรณีที่ได้ตกลงกันไว้
มาตรา 17 ข้อกำหนดใดในสัญญารับขนของทางทะเลซึ่งมีวัตถุประสงค์ /มีผล ดังต่อไปนี้ เป็นโมฆะ
(1) ปลดเปลื้องผู้ขนส่งจากหน้าที่ / ความรับผิดใดๆตามที่กฎหมายกำหนด
(2) กำหนดความรับผิดของผู้ขนส่งให้น้อยกว่าที่กำหนดไว้ใน มาตรา 48, 60 แต่ไม่ตัดสิทธิให้กำหนดความรับผิดมากขึ้น
(3) ปัดภาระการพิสูจน์ กรณีที่กำหนดให่เป็นหน้าที่ของผู้ขนส่ง
(4) ให้ผู้ขนส่งเป็นผู้รับประโยชน์ในสัญญาประกันภัย
มาตรา 31 ผู้ส่งของไม่ต้องรับผิดเพื่อการที่ผู้ขนส่ง / ผู้ขนส่งอื่น ได้รับความเสียหาย / การที่เรือเสียหาย เว้นแต่เป็นความผิด / ประมาทของผู้ส่งของ /ตัวแทน /ลูกจ้าง / จากสภาพแห่งของนั้น โดยผู้ส่งของมิได้ปฏิบัติตามประเพณีแห่งการค้า
มาตรา 39 ความรับผิดของผู้ขนส่ง ต้องรับผิดในความเสียหายระหว่างที่ของอยู่ในการดูแลของตน
มาตรา 40 กรณีที่ถือว่าผู้ขนส่งได้ส่งมอบของแล้ว
มาตรา 43 ผู้ขนส่งยังคงรับผิดเพื่อการเสียหาย สูญหาย หรือส่งมอบชักช้าแม้จะได้มอบหมายให้ผู้ขนส่งอื่น
มาตรา 44 นำบทบัญญัติความรับผิดของผู้ขนส่งมาใช้กับผู้ขนส่งอื่น เฉพาะที่ผู้ขนส่งอื่นได้รับมอบหมาย
มาตรา 45 กรณีรับผิดร่วมกันให้ผู้ขนส่งอื่นเป็นลูกหนี้ร่วม
มาตรา 48 สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายผู้รับตราส่งต้องส่งคำบอกกล่าวเป้นหนังสือ ภายใน 60 วัน นับแต่วันรับของ
มาตรา 51 ผู้ขนส่งไม่ต้องรับผิด หากพิสูจน์ได้ว่าปฏิบัติตาม มาตรา 8 วรรคสอง และมาตรา 9 แล้ว
มาตรา 52 ผู้ขนส่งไม่ต้องรับผิด (1) เหตุสุดวิสัย (9) ความผิดของผู้ส่งของหรือผู้รับตราส่ง (10) สภาพแห่งของนั้น
มาตรา 57 ผู้ขนส่งไม่ต้องรับผิดหากของที่ส่งนั้นเป็นของมีค่าแต่ผู้ส่งของหรือผู้รับตราส่งมิได้แจ้ง
มาตรา 58 จำกัดความรับผิดของผู้ขนส่งไว้เพียง 10,000 บาท / หนึ่งหน่วยการขนส่ง , กิโลกรัมละ 30 บาท
มาตรา 59 ในการคำนวณว่าเงินจำนวนใดจะมากกว่าตาม มาตรา 58 ให้ใช้หลักดังนี้
(1) กรณีรวมหลายหน่วยการขนส่งเป็นหน่วยเดียวกัน ถ้าระบุจำนวน + ลักษณะที่รวมกันไว้ในใบตราส่ง ให้ถือตามที่ระบุ แต่ถ้าไม่ระบุ ให้ถือว่าของทั้งหมดเป็นหนึ่งหน่วยการขนส่ง
(2) กรณีตัวภาชนะขนส่งสูญหาย / เสียหาย ถ้าผู้ขนส่งไม่ได้เป็นเจ้าของ / ผู้จัดหา ถือว่าภาชนะขนส่งอันหนึ่งเป็นของหนึ่งหน่วยการขนส่งอีกต่างหากจากที่มีอยู่ใน / บนภาชนะขนส่งนั้น
มาตรา 60 การจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่งตาม มาตรา 48 มิให้ใช้บังคับ กรณีดังต่อไปนี้
(1) การสูญหาย / เสียหาย / ส่งมอบชักช้า เป็นผลจากการที่ผู้ขนส่ง / ตัวแทน / ลูกจ้าง กระทำ / งดเว้นกระทำ โดยมีเจตนาที่จะให้เกิดการสูญหาย / เสียหาย / ส่งมอบชักช้า ทั้งที่รู้ว่าอาจเกิดขึ้นได้
(2) ผู้ส่งของ + ผู้ขนส่งตกลงกันกำหนดความรับผิดไว้มากกว่าที่กำหนดตาม มาตรา 58 โดยระบุไว้ในใบตราส่ง
(3) ผู้ขนส่งได้จดแจ้งรายการใดๆ ไว้ในใบตราส่งตามที่ผู้ส่งของแจ้ง / จัดให้โดยไม่บันทึกของสงวนเกี่ยวกับรายการนั้นไว้ ในใบตราส่ง ทั้งนี้ โดยมีเจตนาที่จะฉ้อฉลผู้รับตราส่ง
(4) ผู้ส่งของได้แจ้งราคาของที่ขนส่งให้ผู้ขนส่งทราบ + ผู้ขนส่งยอมรับโดยแสดงราคาของนั้นไว้ในใบตราส่ง แต่ถ้าราคาที่คำนวณได้ตาม มาตรา 61 ต่ำกว่าราคาที่แสดงในใบตราส่ง ให้ผู้ขนส่งรับผิดเพียงเท่าราคาที่คำนวณได้
มาตรา 61 การคำนวณราคาของที่สูญหาย /เสียหาย ตาม มาตรา 58 ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
(1) ถ้าสูญหาย / เสียหายทั้งหมด ให้คำนวณเท่ากับราคาที่ของนั้นจะพึงมีในเวลาที่ของส่งมอบ ณ ปลายทาง
(2) ถ้าสูญหาย / เสียหายบางส่วน ให้คำนวณตามส่วนโดยเทียบกับราคาของอย่างเดียวกัน + คุณภาพเท่าเทียมกัน ที่ยังเลืออยู่ในเวลาส่งมอบ ณ ปลายทาง

⚖️ ข้อที่ 10 ทรัพย์สินทางปัญญา
1. ติดตามสรุปรวมคำบรรยายท่องก่อนสอบ ตามแนวการบรรยายในแต่ละสมัย


ดาวน์โหลดถอดเทป เน้นประเด็น เก็งรายข้อ อัพเดททันก่อนสอบ คลิก!




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น