เนติบัณฑิต เก็งเนติ เตรียมสอบ เนติบัณฑิต ภาค1-2 สมัยที่ 74

วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ2. นิติกรรม สัญญา หนี้ สมัยที่ 71



          เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ ข้อ2. นิติกรรม สัญญา หนี้ 






สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ3. ละเมิด สมัยที่ 71

            เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ ข้อ3. ละเมิด





สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ4. ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ สมัยที่ 71

        เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ  ข้อ4. ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ 







สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ5.วิชา ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ สมัยที่ 71

    เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ  ข้อ5.วิชา ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ สมัยที่ 71



สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ6.วิชา ตัวแทน ประกันภัย ตั๋วเงิน บัญชีเดินสะพัด สมัยที่ 71

    เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ  ข้อ6.วิชา ตัวแทน ประกันภัย ตั๋วเงิน บัญชีเดินสะพัด สมัยที่ 71






สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ7. วิชา กฎหมายหุ้นส่วน-บริษัท สมัยที่ 71

         เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ ข้อ7. วิชา กฎหมายหุ้นส่วน-บริษัท








สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ8. วิชา กฎหมายครอบครัว-มรดก สมัยที่ 71

    เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ ข้อ8. วิชา กฎหมายครอบครัว-มรดก






สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ9. วิชา กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ สมัยที่71


          เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ ข้อ9. วิชา กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 
         








สรุปเก็งที่ออกสอบเนติฯ ข้อ10. วิชา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา สมัยที่71

        เพื่อเป็นแนวทางการเตรียมตัวทบทวนอ่านหนังสือเตรียมสอบ เนติฯ  ข้อ10. วิชา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 






วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2561

เก็งเนติ ข้อ 2-3 อาญา สมัยที่ 71 เรื่อง การขัดขวาง (มาตรา 88)

เก็งเนติ ข้อ 2-3 อาญา สมัยที่ 71
------------------


การขัดขวาง (มาตรา 88)

(เก็ง กันอย่างแพร่หลาย มากมาย ในโลกออนไลน์ เผื่อออกสอบ*)


หลักเกณฑ์ของการขัดขวาง
1. ผู้ลงมือต้องกระทำถึงขั้นที่เป็นความผิดแล้ว
2. ผู้ใช้ ผู้โฆษณา หรือ ผู้สนับสนุน ขัดขวาง
3. การขัดขวางนั้นเป็นเหตุให้ผู้ลงมือกระทำไปไม่ตลอดหรือกระทำไปตลอดแล้วแต่การกระทำนั้นไม่บรรลุผล

หากผู้ลงมือยังมิได้กระทำถึงขั้นเป็นความผิด ย่อมไม่เป็นการขัดขวางตามมาตรา 88

ตัวอย่าง แดงใช้ขาวไปฆ่าดำ ขณะที่ขาวชักปืนจะยิงดำ แดงเกิดสงสารจึงเข้าไปปัดปืนทิ้ง เช่นนี้ ไม่ใช่การขัดขวางตามมาตรา 88 เพราะการกระทำของขาว (ผู้ลงมือยังไม่ถึงขั้นเป็นความผิด) แต่แดงยังคงต้องระวางโทษ 1 ใน 3 ของมาตรา 289 (4) (ตามมาตรา 84) แต่ไม่ใช่เพราะการขัดขวางตามมาตรา 88

หมายเหตุ แต่ถ้าขาวยกปืนจ้องเล็งจะยิงดำแล้ว แต่แดงเข้ามาปัดปืนทิ้ง เช่นนี้ ถือว่าเป็นการขัดขวาง แดงผู้ใช้จึงต้องรับผิด เสมือนความผิดยังมิได้กระทำลง คือ1 ใน 3 ของมาตรา 289 (4) (ตามมาตรา 88)

ผลของการขัดขวางตามมาตรา 88
1) ผู้ใช้ ต้องรับโทษเสมือนความผิดยังมิได้กระทำลง คือ 1 ใน 3 ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
2) ผู้โฆษณา รับโทษเพียง กึ่งหนึ่ง (1 ใน 2) ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
3) ผู้สนับสนุน ไม่ต้องรับโทษ (ต้องตอบว่ามีความผิดฐานสนับสนุนความผิดฐานพยายาม แต่ไม่ต้องรับโทษ)


ข้อเหมือนและข้อแตกต่างระหว่างการ ยับยั้ง หรือกลับใจ ตามมาตรา 82 กับการขัดขวางตามมาตรา 88

 ข้อที่แตกต่าง
1) ถ้าเป็นการกระทำของ ผู้ลงมือ หรือตัวการ จะเป็นการยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขตามมาตรา 82
แต่ถ้า กระทำโดยผู้ใช้ , ผู้โฆษณา หรือ ผู้สนับสนุนจะเป็นการขัดขวางตามมาตรา 88
2) การยับยั้งหรือกลับใจ จะต้องกระทำโดยสมัครใจ หากล้มเลิกเพราะตำรวจมา จะอ้างยับยั้งหรือกลับใจแก้ไขตามมาตรา 82 ไม่ได้
แต่ การขัดขวาง ตามมาตรา 88 ไม่จำเป็นต้องกระทำโดยสมัครใจ แม้เข้าไปขัดขวางเพราะตำรวจมา ก็ได้รับผลดีตามมาตรา 88

ข้อที่เหมือนกัน
1) ทั้งมาตรา 82 และมาตรา 88 ต้องกระทำถึงขั้นที่เป็นความผิดแล้ว แต่การกระทำนั้นยังไม่บรรลุผล (พยายาม หรือตระตรียมบางความผิด)
2) ทั้งมาตรา 82 และมาตรา 88 ต้องเป็นเหตุให้การกระทำนั้นไม่บรรลุผล หากปรากฏว่าถึงอย่างไรก็ไม่บรรลุผลอยู่ดี เช่น ยังไงก็ต้องมีพลเมืองดีมาช่วยอยู่ดี เพราะเป็นการยิงในที่ชุมนุมชน จะอ้างมาตรา 82 หรือมาตรา 88 ไม่ได้

อ้างอิง : หนังสือรวมคำบรรยายเนติ 1/71 (อ้างอิงที่มาจาก เพื่อน เนติ fb / เก็งจากสนามติว)